บทความ

การออกแบบ portfolio

รูปภาพ
Portfolio คืออะไร ? Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) คือ แฟ้มไว้รวบรวมผลงานที่น้อง ๆ เคยทำมาไม่ว่าจะเป็นการทำกิจกรรม การเข้าร่วมแข่งขัน หรือเกียรติบัตรนั่นเอง  ความสำคัญของการทำ Portfolio  การทำ Portfolio เป็นการแนะนำตัวเองให้คณะกรรมการและอาจารย์ที่เป็นคนคัดเลือกตอนสอบสัมภาษณ์ได้รู้จักตัวตนของน้อง ๆ มากขึ้นว่าเป็นใคร มีผลงานอะไร ซึ่งสำคัญมากในรอบ 1 เพราะเป็นรอบของพอร์ตฟอลิโอโดยเฉพาะเลย  (ใครที่จะสมัครรอบอื่น ไม่ว่าจะเป็น  รอบ 2 ,  รอบ 3  หรือ รอบ 4  ก็ควรทำพอร์ตไว้ด้วยน้า กรรมการจะได้เห็นภาพมากขึ้นเวลาคุยกับน้อง ๆ ไงง)  คำแนะนำสำหรับการทำ Portfolio สีที่ใช้ใน Portfolio ให้ใช้สีที่อ่านง่ายในการเขียนข้อมูล เช่น สีดำหรือสีเข้ม ไม่ควรใช้สีสำหรับตกแต่งเกิน 2-3 สี เพราะทำให้ข้อมูลดูอ่านยาก และแนะนำว่าควรบาลานซ์การใช้สี ให้เหมาะสมด้วย แนะนำให้ใช้สีตรงกับมหาลัยฯ ที่ยื่นสมัคร เช่น จุฬาฯ ใช้สีชมพูกับสีขาว, มธ. ใช้สีเหลืองกับสีแดง, มก. ใช้สีเขียว, มหิดล ใช้สีน้ำเงิน, มศว ใช้สีเทากับสีแดง เป็นต้น Code สีที่แนะนำสำหรับทำ Portfolio จุฬาฯ #DE5C8E, #F8E1EA, #58595B...

หัวข้อที่ 4 การเขียนเนื้อหาของ portfolio

Portfolio คืออะไร Portfolio คือ แฟ้มสะสมผลงานที่รวบรวมเรื่องราวต่างๆ ที่มีความสอดคล้องกับสาขาที่สมัครเรียน ซึ่ง portfolio นั้นจะช่วยให้คณะกรรมการได้มองเห็นถึงความเป็นตัวตนของเราอีกทั้งยังช่วยสะท้อนให้เห็นถึงความรู้ ความสามารถ ทักษะที่มี กิจกรรมที่เคยเข้าร่วม รวมถึงการมีโอกาสได้รับรางวัลต่าง ๆ อีกด้วย องค์ประกอบของ Portfolio ที่ใช้ในการยื่นเข้ามหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง? 1. หน้าปก ส่วนแรกและส่วนสำคัญของ Portfolio คงหนีไม่พ้นหน้าปก ซึ่งจะต้องออกแบบออกมาให้โดเด่น เพื่อดึงดูดให้คณะกรรมการอยากหยิบขึ้นมาเปิดดู โดยรายละเอียดสำคัญที่ควรระบุไว้ที่หน้าปก คือ รูปถ่าย ชื่อ นามสกุล และชื่อโรงเรียน 2. ประวัติส่วนตัว ถือเป็นส่วนแรกที่จะบอกรายละเอียดเกี่ยวกับตัวเราได้ละเอียดและลึกมากขึ้น โดยข้อมูลที่แนะนำว่าควรจะมี ได้แก่ ชื่อ-นามสกุล ชื่อเล่น วันเดือนปีเกิด อายุ สัญชาติ เชื้อชาติ ศาสนา จำนวนพี่น้อง จบการศึกษาหรือกำลังศึกษาอยู่ที่โรงเรียนใด รวมถึงระบุระดับชั้น สายการเรียน ชื่อบิดา มารดา เป็นต้น 3. ประวัติการศึกษา เป็นส่วนที่จะช่วยให้คณะกรรมการได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาของเรา โดยสามารถใส่ข้อมูลได้ตั้งแ...

โครงสร้างPortfolio

รูปภาพ
โครงสร้างPortfolio Portfolio คืออะไร ? Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) คือ แฟ้มไว้รวบรวมผลงานที่น้อง ๆ เคยทำมาไม่ว่าจะเป็นการทำกิจกรรม การเข้าร่วมแข่งขัน หรือเกียรติบัตรนั่นเอง  ความสำคัญของการทำ Portfolio  การทำ Portfolio เป็นการแนะนำตัวเองให้คณะกรรมการและอาจารย์ที่เป็นคนคัดเลือกตอนสอบสัมภาษณ์ได้รู้จักตัวตนของน้อง ๆ มากขึ้นว่าเป็นใคร มีผลงานอะไร ซึ่งสำคัญมากในรอบ 1 เพราะเป็นรอบของพอร์ตฟอลิโอโดยเฉพาะเลย  (ใครที่จะสมัครรอบอื่น ไม่ว่าจะเป็น  รอบ 2 ,  รอบ 3  หรือ รอบ 4  ก็ควรทำพอร์ตไว้ด้วยน้า กรรมการจะได้เห็นภาพมากขึ้นเวลาคุยกับน้อง ๆ ไงง)  คำแนะนำสำหรับการทำ Portfolio สีที่ใช้ใน Portfolio ให้ใช้สีที่อ่านง่ายในการเขียนข้อมูล เช่น สีดำหรือสีเข้ม ไม่ควรใช้สีสำหรับตกแต่งเกิน 2-3 สี เพราะทำให้ข้อมูลดูอ่านยาก และแนะนำว่าควรบาลานซ์การใช้สี ให้เหมาะสมด้วย แนะนำให้ใช้สีตรงกับมหาลัยฯ ที่ยื่นสมัคร เช่น จุฬาฯ ใช้สีชมพูกับสีขาว, มธ. ใช้สีเหลืองกับสีแดง, มก. ใช้สีเขียว, มหิดล ใช้สีน้ำเงิน, มศว ใช้สีเทากับสีแดง เป็นต้น ข้อมูลโครงสร้าง Portfolio 10 หน้าที่ควรมี ได้แ...

วิเคราะห์ตนเอง

https://static.trueplookpanya.com/cmsblog/1414/89414/banner_file.jpg วันนี้เรามารู้จักศัพท์เฉพาะคำหนึ่ง ที่คนเป็นผู้ใหญ่เขาไว้ใช้วิเคราะห์การตลาด การทำงาน การทำธุรกิจหรือกิจกรรมต่าง ๆ เรียกว่าก่อนจะคิดการใหญ่ทำอะไรให้ประสบความสำเร็จ ล้วนผ่านการใช้คำ ๆ นี้มาแล้วทั้งสิ้น แต่รู้มั้ยว่า คำ ๆ นี้ เด็กในวัย ม.ต้น อย่างน้อง ๆ สามารถนำมาใช้สร้างความสำเร็จในชีวิตได้ คำนั้นคือ “SWOT”          “SWOT”  เป็นเทคนิควิเคราะห์การตลาดของบริษัทธุรกิจ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สร้างความได้เปรียบทางการตลาด ใช้งานครั้งแรกในมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด ประเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี 1960 และนิยมไปทั่วโลกในเวลาต่อมา ซึ่ง SWOT ใช้ได้กับทุกประเภทธุรกิจ โดยมาจากตัวอักษรย่อของคำ 4 คำ คือ S: Strengths จุดแข็ง W: Weaknesses จุดอ่อน O: Opportunities โอกาส T: Threats อุปสรรค         เมื่อนำ SWOT มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ตัวเอง ทำให้เรามองเห็นภาพรวมของตัวเราเอง มองเห็นถึงจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค เพื่อพัฒนาตนเองไปสู่เป้าหมายที่ต้องการในอนา...

แนวทางการเข้าแพทย์ ด้วยรอบPortfolioให้ติด

รูปภาพ
 เกณฑ์การเข้ารับในมหาลัยต่างๆ 1. ศึกษาคุณสมบัติของแต่ละมหาวิทยาลัย แต่ละมหาวิทยาลัยมีเกณฑ์  รับต่างกัน  เช่น GPAX ขั้นต่ำ (เช่น 3.50 หรือ 3.75 ขึ้นไป) มีผลงานด้านวิชาการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ผ่านการอบรมค่าย เช่น  ค่าย สอวน. , ค่าย สพฐ., หรือค่ายของคณะแพทย์โดยตรง เช่น  ค่ายหมอยุวกาชาด, ค่ายเส้นทางสู่หมอ ฯลฯ มีใบรับรองภาษาอังกฤษ (TOEFL/IELTS หรือ CU-TEP/ TU-GET) คะแนนสอบ TGAT / TPAT (แล้วแต่มหาวิทยาลัย) 2. เตรียมแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ให้โดดเด่น ควรจัด Portfolio ให้น่าสนใจและเป็นมืออาชีพ โดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ เช่น: หน้าแนะนำตัว / ประวัติส่วนตัว แรงบันดาลใจในการอยากเป็นแพทย์ ผลงานเด่นที่เกี่ยวกับการแพทย์ / วิทยาศาสตร์ กิจกรรมจิตอาสา / อาสาสมัคร กิจกรรมพิเศษ / แข่งขัน / ประกวด ใบประกาศ / รางวัล ผลคะแนนต่างๆ  เช่น TGAT/TPAT, ภาษาอังกฤษ Tips : เน้น "คุณภาพ" มากกว่า "ปริมาณ" ถ้าเคยทำกิจกรรมที่แสดง "ภาวะผู้นำ" หรือ "จิตสาธารณะ" ให้ชูประเด็นให้ชัดเจน 3. ฝึกซ้อมการสอบสัมภาษณ์ ในรอบ Portfolio จะมี  การสัมภาษณ์  เป็นด่านสำคัญมาก ซ้อมตอบคำ...